Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2542
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2542
Year : 1999
โครงการที่ 1 | การศึกษาศักยภาพการใช้จุลินทรีย์ที่แยกได้จากระบบทางเดินอาหารของกุ้งก้ามกรามเป็นโปรไบโอติคในอาหารเลี้ยงกุ้งก้ามกราม (ดร. วิชัย ลีลาวัชรมาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ Mixed Carbohydrates ระหว่างแซนแทนกัมกับมันสำปะหลัง (ดร. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 3 | การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการผลิตกระดาษคุณภาพสูงจากแบคทีเรียเซลลูโลสร่วมกับเส้นใยธรรมชาติของพืชที่เหมาะสมของประเทศไทย – การผลิตแบคทีเรียเซลลูโลสจากกากน้ำตาลโดย Acetobacter sp. บางสายพันธุ์ที่พบในประเทศไทย (I) (ดร. ศิริพงษ์ เปรมจิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ) |
โครงการที่ 4 | การคัดเลือกสายพันธุ์กล้วยเล็บมือนางเพื่อการบริโภคสดและการแปรรูปกล้วยตาก (ดร. วิทยา บัวเจริญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 5 | การดัดแปรทางเคมีของยางธรรมชาติด้วยปฏิกิริยา epoxidation และ maleinisation เพื่อประยุกต์ใช้เป็นสารเติมแต่งในพลาสติกและยาง (ดร. ปราณี ภิญโญชีพ มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 6 | การศึกษาส่วนประกอบทางเคมีของพืชในตระกูล Phyllanthus และ Macaranga โดยใช้วิธีการทดสอบทางชีววิทยาเป็นแนวทาง (ดร. สมยศ สุทธิไวยกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง) |
โครงการที่ 7 | การพัฒนาเยื่อแผ่นจากไคโตซาน สำหรับการแยกน้ำจากสารละลายเอทานอลโดยกระบวนการเพอแวปพอเรชัน (ดร. รัตนา จิระรัตนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 8 | การศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างสมบัติแม่เหล็กและการกระจายของโลหะหนักในตะกอน ท้องน้ำตลอดแนวคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา (นายไตรภพ ผ่องสุวรรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 9 | การศึกษาผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝั่งของไทยอันเนื่องมาจากการเพิ่มของอุณหภูมิโลก (ดร. วินัย เลียงเจริญสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 10 | การพัฒนาทุ่นลอยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าให้สามารถยับยั้งเชื้อโรค ชะลอการเน่าสลายและนำกลับโปรตีนชนิดสดที่ตกค้างในน้ำเสียได้ (ดร. สุทธิชัย นพนาคีพงษ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 11 | การประยุกต์ใช้เซนเซอร์วัดการไหลของน้ำแบบพัลส์ความร้อนเพื่อวัดการใช้น้ำของต้นไม้ผล (ดร. สายัณห์ สดุดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 12 | การเพิ่มการถ่ายเทความร้อนและลักษณะการลดลงของความดันของสารทำความเย็นชนิดใหม่ ระหว่างการระเหยและการควบแน่น (ดร. สมชาย วงศ์วิเศษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |