โครงการที่ 1 การวิเคราะห์และการสกัดสารสำคัญทางชีววิทยาจากฟางข้าวและแกลบเพื่อนำมาใช้ในอาหารและเครื่องสำอาง
(ดร. สุภัทรา ลิลิตชาญ มหาวิทยาลัยมหิดล) 
โครงการที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารว่างเสริมสุขภาพชนิดกึ่งแข็งพร้อมบริโภคจากข้าว สำหรับผู้สูงอายุ
(ดร. อัศวิน อมรสิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) 
โครงการที่ 3 การปรับปรุงพันธุกรรมยีสต์เพื่อเพิ่มการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลส (ผศ.ดร. นันทนา สีสุข มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 
โครงการที่ 4 การพัฒนาเครื่องดื่มสุขภาพและออกแบบโรงงานต้นแบบสำหรับการผลิตของชุมชนท้องถิ่น
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราพร ลักษณลม้าย มหาวิทยาลัยรังสิต) 
โครงการที่ 5 การสกัดน้ำมันรำข้าวสังข์หยดโดยวิธีเชิงกลและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
(ดร. อมรรัตน์ ถนนแก้ว มหาวิทยาลัยทักษิณ) 
โครงการที่ 6 จุลินทรีย์มีประโยชน์จากธรรมชาติเพื่อการเกษตร
(รองศาสตราจารย์ ดร. จุรีย์รัตน์ ลีสมิทธิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน) 
โครงการที่ 7 การใช้ไคโตซานบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์น้ำนม
(รองศาสตราจารย์ ดร. พัฒนา อนุรักษ์พงศธร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 
โครงการที่ 8 สูตรสำเร็จเชื้อยีสตสำหรับเคลือบผิวมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส
(รองศาสตราจารย์ ดร. จินันทนา จอมดวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา) 
โครงการที่ 9 การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อราสาเหตุโรคหลังการเก็บเกี่ยวของสารสกัดจากเนื้อเยื่อ albedo ของส้มโอ
(ดร. มัชฌิมา นราดิศร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) 
โครงการที่ 10 การพัฒนาแอนติเจนสังเคราะห์จำลองจากผิวของเชื้อ Mycobacterium tuberculosis เพื่อเป็นวัคซีนต่อต้านวัณโรค
(ดร. ศิวรัตน์ บุณยรัตนกลิน สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร) 
โครงการที่ 11 การพัฒนาชุดตรวจกรองอิมมูโนโครมาโทกราฟิกด้วยอนุภาคนาโนทองสำหรับฮีโมโกลบินอี
(ดร. อมรพันธุ์ เสรีมาศพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 
โครงการที่ 12 การผลิตปุ๋ยยูเรียละลายช้าโดยการเคลือบด้วยกรดเสตรียริกและเม็ดแป้ง
(รองศาสตราจารย์ ดร. ดุษฎี อุตภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี) 
โครงการที่ 13 การสังเคราะห์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพตัวใหม่โดยอาศัยวิธีการทางเคมีสารสนเทศ
(ดร. ชนินทร์ นันทเสนามาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) 
โครงการที่ 14 การแยกและการพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชวงศ์ Rutaceae
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรัตน์ ละภูเขียว มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) 
โครงการที่ 15 การหาลักษณะเฉพาะและสังเคราะห์ฟิล์มบางไทเทเนียมออกไซด์ด้วยการตกเคลือบด้วยพลาสมา
(ดร. ศุภรัตน์ นาคสิทธิพันธุ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้) 
โครงการที่ 16 การศึกษาพฤติกรรมของพลาสมาระหว่างการใช้เชื้อเพลิงแช่แข็งในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชันแบบโทคาแมค
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวัชชัย อ่อนจันทร์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร) 
โครงการที่ 17 การศึกษาเชิงฟังก์ชันความหนาแน่นของตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดที่มีเหล็กเป็นฐานรูปแบบ α-FeSe
(รองศาสตราจารย์ ดร. เทพอักษร เพ็งพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) 
โครงการที่ 18 การพัฒนาระบบส่งยาในรูปแบบแท่งพอลิเมอร์ขนาดเล็กที่สามารถถูกฝังโดยตรงสู่ก้อนมะเร็งในตับและสมอง
(ดร. นรเศรษฐ์ ณ สงขลา มหาวิทยาลัยมหิดล) 
โครงการที่ 19 การสำรวจความเร็วคลื่นเฉือนเพื่อการประเมินความรุนแรงของแผ่นดินไหว โดยการตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กที่ผิวดินในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
(รองศาสตราจารย์ ดร. นคร ภู่วโรดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) 
โครงการที่ 20 การศึกษาการขยายตัวของรอยแตกภายใต้ภาระแบบวงรอบของแก้มยางรถบรรทุกแบบเรเดียล
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญยุทธ โกลิตะวงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ) 
โครงการที่ 21 การพัฒนาชุดจับมีดกลึงแบบโรตารี่สำหรับวัสดุทางการแพทย์
(ดร. ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 
โครงการที่ 22 การประยุกต์องค์ความรู้ทางวิศวกรรมในการออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์ยางรองแท่นเครื่อง
(ดร. ชนะ รักษ์ศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 
โครงการที่ 23 การออกแบบและพัฒนาแผ่นวงจรสำหรับรับสัญญาณแบบเรลไทม์เพื่อบีบอัดและส่งข้อมูลความถี่วิทยุสัญญาณอัลตราซาวนด์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
(ดร. อุดมชัย เตชะวิภู ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ) 
โครงการที่ 24 การเพิ่มสมรรถนะเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนโดยการสอดใส่แผ่นบิด
(รองศาสตราจารย์ ดร. สมิทธ์ เอี่ยมสอาด มหาวทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร) 
โครงการที่ 25 ระบบสอบออนไลน์มาตรฐานกลาง
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คะชา ชาญศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)