Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2555
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2555
Year : 2012
โครงการที่ 1 | แนวทางการใช้ประโยชน์จากราไมคอร์ไรซากล้วยไม้เพื่อการผลิตและการอนุรักษ์กล้วยไม้ (ดร. สุรีย์พร นนทชัยภูมิ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การผลิตและสกัดแยกไบโอพอลิแซคคาไรด์จากสาหร่าย Ulva intestinalis ที่มีสมบัติเชิงหน้าที่และเป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูงสำหรับอาหารเสริม (รศ. ดร. ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 3 | การทำบริสุทธิ์และการจำแนกคุณลักษณะคอลลาเจนที่ละลายด้วยกรดจากหนังปลาสลิด (ดร. สิทธิพงศ์ นลินานนท์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 4 | การย่อยสลายพลาสติกชนิดพอลิแลกไทด์ด้วยกระบวนการทางชีวภาพโดยแบคทีเรียชอบร้อนเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (ดร. สุขุมาภรณ์ สุขขุม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) |
โครงการที่ 5 | การพัฒนาน้ำมันมะพร้าวจากแหล่งวัตถุดิบในประเทศเพื่อเป็นสารต้านจุลชีพทางเลือกสำหรับประยุกต์ใช้ในทางเภสัชกรรมและสาขาที่เกี่ยวข้อง (รศ. ดร. สนทยา ลิ้มมัทวาภิรัติ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 6 | การเพิ่มประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยเพื่อป้องกันเชื้อราบนบรรจุภัณฑ์อาหารที่ทำมาจากวัสดุเซลลูโลสที่ย่อยสลายได้ (ผศ. ดร. นฤมล มาแทน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 7 | การใช้ประโยชน์จากก๊าซไนตรัสออกไซด์เพื่อลดการหลุดร่วงในช่อผลลองกองหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อการส่งออก (ดร. อินทิรา ลิจันทร์พร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี) |
โครงการที่ 8 | การแยกและการพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นนมวัว (ดร. วงศ์ พะโคดี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) |
โครงการที่ 9 | การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของอนุพันธ์สารประกอบควิโนลีน (ดร. ชาญศักดิ์ ทองซ้อนกลีบ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์) |
โครงการที่ 10 | การสังเคราะห์และคุณสมบัติการต่อต้านโรคหอบหืดของอนุภาคโปรตีนขนาดเล็กในกลุ่ม Bivalent SFTI-I (ดร. ภานุมาศ ทองอยู่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) |
โครงการที่ 11 | การสังเคราะห์อนุพันธ์ของสารประกอบอินโดลเชื่อมกับอะซิพิน ที่มีฤทธิ์เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและต้านโรคพืช (ผศ. ดร. วยา พุทธวงศ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 12 | การค้นหาอนุภาคสมมาตรยวดยิ่ง สควาร์ก รุ่นที่ 3 เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (ดร. บุรินทร์ อัศวพิภพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 13 | การวิเคราะห์ผลการทดลองการชนของ p+p ที่พลังงานสูงระดับ LHC และสมบัติของมีซอนชนิดชาร์มในแบบจำลองควาร์ก (ดร. อายุทธ ลิ้มพิรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 14 | การเตรียมฟิล์มแมงกานีสออกไซด์ผสมท่อนาโนคาร์บอนด้วยวิธีไฮโดรเทอมอลเพื่อประยุกต์ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในตัวเก็บประจุไฟฟ้าความจุสูง (ดร. พาวินี กลางท่าไค่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 15 | ความเป็นอินทิเกรบิลิตีจากโครงสร้างลากรางเจียนแบบฟอร์มเดี่ยว (ดร. สิขรินทร์ อยู่คง มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 16 | การสกัดและนาโนเอนแคปซูเลทชันของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรของประเทศไทยโดยใช้เทคโนโลยีสีเขียว (ผศ.ดร. ณัฐวรรณ์ ยศวัฒน มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 17 | ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อโค้งความเข้มฝนและปริมาณน้ำเพื่อการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ผศ. ดร. ศุภสิทธิ์ คนใหญ่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 18 | อิทธิพลของซิลิคอนต่อการเกิดออกซิเดชันและสภาพการยึดเกาะเชิงกลของออกไซด์สเกลบนเนื้อพื้นเหล็กและเหล็กกล้า (ผศ.ดร. สมฤกษ์ จันทรอัมพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ) |
โครงการที่ 19 | การปรับปรุงคุณภาพอากาศนอกอาคารด้วยวิธีจัดเรียงสิ่งปลูกสร้างตามแนวทาง constructal (ดร. อาทิตย์ คูณศรีสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 20 | ระบบตรวจสอบและบริหารการใช้พลังงานอัจฉริยะภายในครัวเรือน (ดร. สุรัสวดี กุลบุญ ก่อเกื้อ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |