โครงการที่ 1 การปรับปรุงพันธุ์งาให้มีลักษณะฝักไม่แตกและฝักต้านทานการแตก
(รศ.ดร.วาสนา วงษ์ใหญ่, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 2 ศักยภาพในการใช้ Rhizobacteria ในธรรมชาติสำหรับการส่งเสริมการเจริญเติบโต และการเพิ่มผลผลิตของพืช
(ดร. กัญชลี เจติยานนท์, มหาวิทยาลัยนเรศวร)
โครงการที่ 3 กระบวนการผลิตข้าวนึ่งหุงสุกแช่เยือกแข็ง
(ดร. อรอนงค์ นัยวิกุล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 4 การพัฒนาพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดลูกผสมและ เทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดในระดับเกษตรกร
(ดร. วิทยา บัวเจริญ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
โครงการที่ 5 ศักยภาพของการใช้เชื้อผสมของ Bacillus spp ที่แยกได้จากลำไส้ของกุ้งก้ามกราม (Macrebachium rosenburgii de Man) เป็นโปรไบโอติคในอาหารเลี้ยงกุ้ง และการศึกษาภูมิคุ้มกันโรคในกุ้งหลังจากได้รับโปรไบโอติค
(ดร.วิชัย ลีลาวัชรมาศ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
โครงการที่ 6 การศึกษาผลของการเชื่อมโยงทางเคมี ในวัฏภาคของยางโดยใช้กำมะถันที่มีต่อ สมบัติความทนน้ำมันและความร้อนของพอลิเมอร ์ผสมระหว่างยางธรรมชาติกับคลอริเนเตทพอลิเอธิลีน
(ดร. ชาคริต สิริสิงห, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 7 การเตรียมยางสกิมโปรตีนต่ำเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับกาวชนิดพิเศษที่ไม่ทำให้เกิดภูมิแพ้
(ดร. จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 8 การแยกและศึกษาหน้าที่ของยีนที่เกี่ยวข้องกับชีวสังเคราะห์สารแอนโทไซยานิน จากกระเพรา
(ดร. ดุษณี ธนะบริพัฒน์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
โครงการที่ 9 การศึกษาปฏิกิริยาโพพากิลเลชั่นแบบเฉพาะของน้ำตาล เพื่อนำไปสู่การสังเคราะห์สารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ
(ดร. รุ่งนภา แซ่เอ็ง, มหาวิทยาลัยบูรพา)
โครงการที่ 10 การปรับปรุงคุณภาพผิวและการควบคุมขนาดของ ผลิตภัณฑ์พีวีซีที่ได้จากกระบวนการอัดรีดโดยระบบหัวขึ้นรูปสนามแม่เหล็ก
(ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
โครงการที่ 11 การศึกษาความเป็นไปได้ของการเกิดสภาวะLiquefaction ของชั้นทรายในจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย
(ดร. สุพจน์ เตชวรสินสกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 12 อเสถียรภาพของพื้นที่เชิงเขาจากการเกิดฝนตกอย่างหนักต่อเนื่องในบริเวณรับน้ำของเทือกเขา
(ดร. กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
โครงการที่ 13 การวิเคราะห์เศษโลหะจากปลั๊กแม่เหล็กเพื่อประเมินสภาพเครื่องจักรอุตสาหกรรม
(ดร. สุรพล ราษฎร์นุ้ย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ)
โครงการที่ 14 กลไกโฟนอน: เหตุแห่งการสั่นของแขนกลอ่อนตัว
(ดร. ปิติเขต สู้รักษา, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
โครงการที่ 15 การออกแบบและสร้างซอฟต์แวร์ สำหรับสร้างโมเดลและให้กำเนิดโปรแกรม ควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติสำหรับระบบ Real-Time ขนาดเล็ก
(ดร. วัฒนพงศ์ เกิดทองมี, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)