โครงการที่ 1 เชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่ Paenicacillus spp. ที่ทนกรดอะซิติกความเข้มข้นสูงเพื่อกระบวนการผลิตกรดอะซิติก
(ศ.ดร. วราวุฒิ ครูส่ง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง)
โครงการที่ 2 การกระตุ้นผลิตสารบีต้ากลูแคนและสารฟีนอลิกที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสจากเห็ดกินได้ด้วยแสงที่มีความยาวคลื่นต่างกัน
(ดร. วราภรณ์ อภิวัฒนาภิวัต, สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
โครงการที่ 3 การศึกษาจุลินทรีย์ที่มีบทบาทในการเปลี่ยนรูปสารหนูในน้ำใต้ดินที่ได้รับผลกระทบจากกิจกรรมการเกษตรเพื่อเป็นแนวทางในการบำบัดมลพิษด้วยวิธีทางชีวภาพ
(ดร. พรินท์พิดา สนธิพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 4 การปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณแคโรทีนอยด์ในข้าวโพดหวานพิเศษ
(ดร. พรชัย หาระโคตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
โครงการที่ 5 การวิเคราะห์จีโนมของทุเรียนพันธุ์ปลูก 30 พันธุ์เพื่อการระบุความหลากหลายทางพันธุกรรมและยีนที่เกี่ยวข้องกับกลิ่นและสีของเนื้อผล
(ผศ.ดร. ศุภอรรจ ศิริกันทรมาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 6 การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของเปปไทด์ที่สกัดจากรำข้าวของพื้นเมืองพันธุ์หอมกระดังงา โดยใช้วิธีทางเอนไซม์
(ดร.พรเพ็ญ พนมวัลย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์)
โครงการที่ 7 การพัฒนาไฮโดรเจลและนาโนเจลจากวัสดุฐานชีวภาพเพื่อเป็นสารปรับปรุงดินสำหรับมุ่งสู่การเกษตรแบบอัจฉริยะ
(ผศ.ดร. วรรณวิมล ปาสานพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 8 การควบคุมโรคข้าวโดยชีววิธีและการส่งเสริมการเจริญของพืชด้วยแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับพืช และแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับไลเคน
(ผศ.ดร.ศรีกาญจนา คล้ายเรือง มหาวิทยาลัยแม่โจ้)
โครงการที่ 9 ฟลูออเรสเซนซ์เซ็นเซอร์ชนิดใหม่ เพื่อใช้ตรวจวัดไออนปรอท แคดเมียม และ ไซยาไนด์ ในสารละลายและชุดตรวจสอบในภาคสนาม
(รศ.ดร.นันทนิตย์ วานิชาชีวะ มหาวิทยาลัยศิลปากร)
โครงการที่ 10 การสังเคราะห์สารอิแนนทิโอเมอร์และการแยกไครัลโมเลกุลด้วยเทคนิคทางเคมีไฟฟ้า
(ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ สถาบันวิทยสิริเมธี)
โครงการที่ 11 การลดภาวะโลกร้อน:การพัฒนาตัวเร่งปฎิกิริยาชนิดใหม่ในกระบวนการกำจัดก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(รศ.ดร. ศิริพร จึงสุทธิวงษ์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
โครงการที่ 12 การตรวจหาเซลล์มะเร็งที่กระจายตัวในกระแสเลือดที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจายด้วยอนุภาคนาโนของทองและอนุภาคนาโนที่มีคุณสมบัติทางแม่เหล็ก
(ผศ.ดร.ดาครอง พิศสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 13 การศึกษาผลกระทบของแบบจำลองการแปลงข้อมูลภาพซีทีเป็น stopping power ratio (SPR) ต่อการวางแผนการรักษาด้วยอนุภาคโปรตอน
(ดร. เธียรสิน เลี่ยมสุวรรณ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์)
โครงการที่ 14 การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีฐานสำหรับงานวิจัยด้านกระดูกโดยการผสมผสานการเลี้ยงเซลล์กระดูกสามชนิดเข้าด้วยกันในระบบที่มีการไหลเวียนของเหลวแบบต่อเนื่อง
(ดร.ณัฐพล ภาณุพินธุ มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 15 การสังเคราะห์แกรฟีนฟิล์มจากขยะของเสียด้วยวิธีการเคลือบผิวด้วยไอเคมี
(ดร. อรรฆวัชร รวมไมตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
โครงการที่ 16 self-activated carbon ในเส้นใยนาโนของวัสดุผสม SnO2@Zno สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเก็บประจุยิ่งยวด
(ผศ.ขวัญฤทัย วงศาพรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
โครงการที่ 17 คุณสมบัติและผลกระทบทางพลศาสตร์ของดินถมบริเวรท่าเรือแหลมฉบัง
(ผศ.ดร. พูลพงษ์ พงษ์วิทยภานุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(ศรีราชา))
โครงการที่ 18 คุณลักษณะทางเคมีฟิสิกส์ และโครงสร้างพื้นผิวของสารแทนกระดูกที่ได้จากขบวนการแปรรูปฟันที่ถูกถอน
(ผศ.ดร. ดุษมณี เสรีวัฒนาชัย มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 19 การออกแบบและพัฒนาระบบส่งเสริมการกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
(ดร.ทัศนีย์วรรณ ลักษณะโสภิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
โครงการที่ 20 ประสาทวิศวกรรมศาสตร์: การสะกดภาษาไทยผ่าน BCI ด้วยระบบ ไฮบริด SSVEP-P300
(ดร.จักรหล่ำ ศิลปสุวรรณชัย มหาวิทยาลัยแสตมฟอร์ด)