Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2551
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2551
Year : 2008
โครงการที่ 1 | ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติกำจัดวัชพืชจากประยงค์ (รองศาสตราจารย์ ดร. จำรูญ เล้าสินวัฒนา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การศึกษาความต้องการโภชนะของโคเนื้อพันธุ์กำแพงแสน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุริยะ สะวานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 3 | การใช้สารสกัดจากรำข้าวยับยั้งจุลินทรีย์ที่ทำให้เสื่อมเสียในผลไม้เศรษฐกิจของไทย (ดร.มนัชญา งามศักดิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 4 | การเพิ่มชีวมวลของสาหร่ายน้ำเค็มโดยใช้ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อผลิตไบโอดีเซล (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผกาวดี แก้วกันเนตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 5 | การวิจัยและพัฒนาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลลองกองใน จ.นราธิวาส เพื่อการส่งออก (ดร.สมัคร แก้วสุกแสง มหาวิทยาลัยทักษิณ) |
โครงการที่ 6 | การศึกษาคุณสมบัติของเชื้อจุลินทรีย์โปรไบโอติกชนิดใหม่เพื่อใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัลลิกา ชมนาวัง มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 7 | อิทธิพลของวัตถุดิบและสารช่วยแปรรูปต่อคุณภาพของแครกเกอร์ข้าว (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปุณฑริกา รัตนตรัยวงศ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 8 | การศึกษาคุณสมบัติเอนไซม์ไลเปสจากเมล็ดสบู่ดำเพื่อเพิ่มทางเลือกในการใช้ประโยชน์ (ดร. สุคันธรส ธาดากิตติสาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 9 | การผลิตก๊าซชีวภาพจากกากเมล็ดสบู่ดำโดยกระบวนการหมักไร้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ (ดร. นุษรา สินบัวทอง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 10 | การเลี้ยงผลึกเดี่ยวและการศึกษาโครงสร้างผลึกของโครงข่ายผสมโลหะ-สารอินทรีย์ชนิดใหม่ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภินภัส รุจิวัตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 11 | การสกัดแยกกลัยโคไซด์จากใบมะตูมและใบปอกระเจาโดยใช้โพลิเมอริกเรซิน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ภูวไพรศิริศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 12 | วัสดุเชิงประกอบชนิดพอลิเมอร์ชีวภาพที่มีสมบัติกระจายไฟฟ้าสถิตสำหรับงานบรรจุภัณฑ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (ดร. วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ) |
โครงการที่ 13 | การพัฒนาวัสดุควบคุมการปลดปล่อยยาในรูปแบบนาโนไฟเบอร์ โดยใช้พอลิแลคไทด์และอนุพันธุ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ โอภาประกาศิต สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร) |
โครงการที่ 14 | การเร่งออกของเอกภพในทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบคามิเลียน (ดร. บุรินทร์ กำจัดภัย มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 15 | โครงสร้างระดับไมโครของฟิล์มบางไดอิเล็กทริกที่เตรียมโดยวิธีโซลเจลบนแผ่นรองรับต่างชนิดกันและการประยุกต์ใช้ (ดร. สตรีรัตน์ กำแพงแก้ว โฮดัค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 16 | การประยุกต์ของถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิงหเดช แตงจวง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์) |
โครงการที่ 17 | พฤติกรรมการปนเปื้อนของน้ำมันเบนซินและแก๊สโซฮอล์ในดินทราย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 18 | การพัฒนาระบบส่งยาในรูปแบบแท่งพอลิเมอร์ขนาดเล็กที่สามารถถูกฝังโดยตรงสู่ก้อนมะเร็งในตับ (ดร. นรเศรษฐ์ ณ สงขลา มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 19 | การสร้างแบบจำลองจีออยด์ท้องถิ่นสำหรับประเทศไทย (ดร. พุทธิพล ดำรงชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 20 | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเมมเบรนระดับไมโครฟิลเตรชั่นและอุลตราฟิลเตรชั่นในการผลิตน้ำยางข้น:การทำข้นและการนำกลับส่วนที่เป็นยางและไม่ใช่ยาง (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ ศรีแดง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 21 | ระบบตรวจคัดกรองสำหรับโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาด้วยภาพจอประสาทตา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญญฤทธิ์ อุยยานนวาระ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร) |
โครงการที่ 22 | อิฐดินและกระเบื้องปูพื้นจากเศษตะกอนดิน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดรุณี วัฒนศิริเวช มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) |
โครงการที่ 23 | การออกแบบและพัฒนาระบบที่ปรับเงื่อนไขการทำงานโดยอัตโนมัติสำหรับแจ้งเตือนการเคลื่อนไหวที่ไม่เหมาะสมและแจ้งเหตุฉุกเฉินการหกล้มสำหรับผู้สูงอายุ (รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 24 | การพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพแบบไหลผ่านสำหรับงานวิศวกรรมเนื้อเยื่อที่ใช้เซลล์ต้นกำเนิด (ดร. โศรดา กนกพานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |