Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2563
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2563
Year : 2020
โครงการที่ 1 | แผ่นยืดอายุอาหารแบบควบคุมการปลดปล่อยสารต้านจุลินทรีย์ด้วยความชื้นที่เตรียมจากพอลิเมอร์หลายองค์ประกอบ (รศ.ดร. นวดล เพ็ชรวัฒนา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจากไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากเห็ดด้วยเอนไซม์จากแอคติโนมัยสีท (ดร.อันธิกา บุญแดง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 3 | การใช้สารป้องกันกำจัดเชื้อราควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าและโรคผลเน่าหลังการเก็บเกี่ยวกับทุเรียนหมอนทอง (ผศ.ดร. เนตรนภิส เขียวขำ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | การศึกษาการติดเชื้อแบคทีเรีย Wolbachia ในเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvata lugens) : ผลกระทบต่อการตอบสนองทางโมเลกุลของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (รศ.ดร. อิสนันท์ วิวัฒนรัตนบุตร, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 5 | ฤทธิ์ทางชีวภาพและบทบาทของสารออกฤทธิ์ของเกสรผึ้งและพรอพอลิส (ศ.ดร. จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 6 | การพัฒนาตำรับใช้เฉพาะที่สำหรับรักษาบาดแผลที่ผิวหนังจากสารสกัดเอทานอลของข้าวไรซ์เบอร์รี่ (ผศ.ดร. ศราพร หริการภักดี, มหาวิทยาลัยรังสิต) |
โครงการที่ 7 | กลไกระดับโมเลกุลในการลดผลกระทบของความแล้งและการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวโดยแอกดิโนแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและการทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพของเชื้อ (รศ.ดร.วสุ ปฐมอารีย์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 8 | นวัตกรรมการเลี้ยงไหมเพื่อเพิ่มผลผลิตไหมและลดการเกิดโรคต้อในหนอนไหมในกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไหมบ้านหนองบัวแปะ อำเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม (ผศ.ดร. สิริภัค สุระพร, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 9 | การศึกษากลไกการนำอาร์เอ็นสายคู่เข้าเซลล์กุ้งโดยโปรตีน SID1 เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งแวนนาไมน์ (ดร. พงโสภี อัตศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 10 | นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากวัสดุเศษเหลือจากอุตสาหกรรมแปรรูปเงาะสำหรับประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ (ดร.อรไท สวัสดิชัยกุล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 11 | การสังเคราะห์สไปโรไซคลิกอัลคาลอยด์ FR901483 TAN1251 Lepadiformine และ สารที่มีโครงสร้างคล้าย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเป็นยาในโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (ผศ.ดร.พัลลภ คันธิยงค์, มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 12 | การพัฒนากระบวนการเร่งปฎิกิริยาการเพิ่มหมู่ฟอสฟอรัสในโมเลกุลสารอินทรีย์เพื่อปรับแต่งโครงสร้างของสารในกลุ่มเฮทเทอโรไซเคิลให้มีคุณสมบัติและฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจ (ผศ.ดร.ศิริลตา ยศแผ่น, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 13 | ตัวรับรู้แบบสวมใส่ชนิดไม่เจาะผ่านผิวหนังสำหรับเฝ้าระวังภาวะเบาหวานและกล้ามเนื้ออ่อนแรง (ดร.นาฏนัดดา รอดทองคำ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 14 | การศึกษาพัฒนาสารประกอบโคออร์ดิเนชันที่มีรูพรุนเพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการเปลี่ยนน้ำตาลเป็นสารเคมีมูลค่าสูง (ดร. สรียา บุรีแก้ว, สถาบันวิทยสิริเมธี) |
โครงการที่ 15 | เทคโนโลยีเพอรอฟสไคท์สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับใช้ในอาคาร (ผศ.ดร. พงศกร กาญจนบุษย์, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 16 | การค้นหาฟิสิกส์นอกเหนือแบบจำลองมาตรฐานด้วยสสารมืดและนิวตริโน (ผศ.ดร. ปฎิภาณ อุทยารัตน์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) |
โครงการที่ 17 | การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของตัวสั่นไม่เชิงเส้นเพื่อศึกษากลไกการเกิดเสียงสะท้อนจากหูชั้นใน (ดร.ยุทธนา รุ่งธรรมสกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 18 | เฟรมเวิร์กการเรียนรู้เชิงลึกและไม่เชิงลึกสำหรับการวินิจฉัยการตีบของหลอดเลือดหัวใจจากการวิเคราะห์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพของการถ่ายภาพสแกนภาวะเลือดเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ (รศ.ดร. ธีรพงศ์ ลีลานุภาพ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 19 | อุปกรณ์ปลูกถ่ายประเภทโลหะจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ: การเพิ่มประสิทธิภาพของโครงสร้างภายในจากการคำนวณขั้นสูง (ดร.พชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 20 | ความเข้าใจในพื้นฐานของคุณลักษณะของฝุ่นละอองขนาดเล็กจากกลไกการเสื่อมสภาพของเบรกในรถยนต์ไฟฟ้า (รศ.ดร. เอกไท วิโรจน์สกุลชัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 21 | การพัฒนาระบบเพอฟิวชันแบบให้แรงเฉือน 2 แนวสำหรับการเพาะเลี้ยงเซลล์ระยะยาวโดยใช้โครงเลี้ยงเซลล์ไฮบริดจากไหมไทยและแก้วชีวภาพ (ดร.พีรพัฒน์ ทองนึก, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |