Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2556
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2556
Year : 2013
โครงการที่ 1 | การปรับปรุงสายพันธุ์ Bacillus thuringiensis subsp. aizawai SP41 โดยการทำให้ยีน cry2Ab แสดงออก (ศ.ดร. วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
---|---|
โครงการที่ 2 | ความหลายหลายทางชีวภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและการประยุกต์ใช้ควบคุมหนอนแมลงวัน (ผศ. ดร. อภิชาติ วิทย์ตะ, มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 3 | การวิเคราะห์ยีนที่ตอบสนองต่อการรับสารหนูในข้าวเจ้า และข้าวเหนียว (รศ. ดร. พัฒนา ศรีฟ้า ฮุนเนอร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | การคัดแยกจุลินทรีย์ที่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวเพื่อใช้ฟื้นฟูดินและแหล่งน้ำทางเกษตร (ดร. พรรณนภา เภาทอง, มหาวิทยาลัยรังสิต) |
โครงการที่ 5 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากสารสกัดรวงข้าว (ผศ. ดร. มยุรี กัลยาวัฒนกุล, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) |
โครงการที่ 6 | พันธุศาสตร์เซลล์ของปลาสวยงามในประเทศไทย (รศ. ดร. อลงกลต แทนออมทอง, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 7 | การเพาะเลี้ยงรากชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glaba L.) ในสภาพปลอดเชื้อเพื่อการผลิตสารทุติยภูมิ (ดร. วิภารัตน์ พิทักษ์ด่านธรรม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 8 | การศึกษาลักษณะและพัฒนาการผลิตเอทานอลจากลิกโนเซลลูโลสในยีสต์ Spathaspora passalidarum สายพันธุ์ทนร้อน (ดร. เนตรชนก รอดรัศมี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 9 | การพัฒนาสารต้นแบบสำหรับรักษาโรคจากโปรตีนไฮโดรไลเสต:กรณีศึกษาเมล็ดผลไม้ไทย (ผศ. ดร. อภิชาติ กาญจนทัต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 10 | สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชในวงศ์โมกในประเทศไทย: พุดดง โมกหลวง และหมากบง (ดร. สาโรจน์ จีนประชา, มหาวิทยาลัยพะเยา) |
โครงการที่ 11 | การพัฒนาวิธีดัดแปรยางธรรมชาติให้คงทนและมีคุณสมบัติใหม่ในขั้นตอนเดียวที่ง่ายและทำได้หลากหลาย (ดร. พีระศักดิ์ เภาประเสริฐ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) |
โครงการที่ 12 | นาโนคอมพอสิทของแมกนีไทท์และซิลเวอร์ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่เพื่อการประยุกต์ใช้ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย (รศ. ดร. เมธา รัตนากรพิทักษ์, มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 13 | การประยุกต์ใช้สารประกอบออร์แกนิคเอไซด์ในการสังเคราะห์สารประกอบฟีแนนทรีดีนและสารอนุพันธ์ (ดร. จำเรียง ธรรมธร, สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์) |
โครงการที่ 14 | ผลเฉลยเชิงสมมาตรทรงกลมของทฤษฎีเอ็กเทรนเดดแมสสีพกราวิตี (ดร. พิทยุทธ วงศ์จันทร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 15 | พลังงานการเพิ่มประจุยังผลของปั๊มอิเล็กตรอนเดี่ยว (ดร. ประธาน ศรีวิไล, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 16 | การหาขอบเขตแม่นตรงของความน่าจะเป็นของการส่งผ่านของหลุมดำแบบหมุนในมิติพิเศษและการประยุกต์ใช้ในระบบฟิสิกส์พลังงานสูง (ผศ. ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 17 | การประมาณอัตราส่วนพื้นที่แผลไฟไหม้ด้วยเทคนิควิทัศน์คอมพิวเตอร์โดยใช้ Microsoft Kinect (ดร. มิติ รุจานุรักษ์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 18 | ระบบเฝ้าติดตามและตรวจวัดสัญญาณชีพผู้ประสบภัยในสถานการณ์ฉุกเฉินฝ่ายเครือข่ายระบบสื่อสาร (ดร. พรภพ นัยเนตร, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 19 | การพัฒนาฐานความรู้ใบหน้าบุคคลด้วยเทคโนโลยีการรู้จำใบหน้าพร้อมการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับหลักฐานที่ใช้การสืบสวนคดีและนิติวิทยาศาสตร์ ( ผศ. ดร. ทศพล บุญเกิน, โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช) |
โครงการที่ 20 | การวิเคราะห์คอขวดบนทางหลวงสายหลักในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดยาว (ดร. รัฐพล ภู่บุบผาพันธ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |