Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2562
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2562
Year : 2019
โครงการที่ 1 | การแก้ไขยีนในกล้วยไม้หวายด้วยระบบคริสเปอร์แคสเพื่อเพิ่มความทนทานต่อน้ำเค็ม (ดร. อนงค์ภัทร สุทธางคกูล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
---|---|
โครงการที่ 2 | ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในการควบคุมแมลงวันพริก (Bactrocera latifrons Hendel) ในสภาพโรงเรือนและไร่ (ผศ.ดร. ประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 3 | ต้นแบบการกระตุ้นการผลิตสารไฟโตเอดไดสเตอรอยด์ในหน่อไม้ฝรั่ง เพื่อใช้ยับยั้งภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ (ผศ.ดร. ศิริพร ศรีภิญโญวณิชย์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | การตรวจสอบแบบรวดเร็วและไม่ทำลายของโรคแอนแทรคโนสในมะม่วงด้วย hyperspectral imaging (รศ.ดร. อุบลรัตน์ สิริภัทราวรรณ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 5 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมการเจริญเติบโตของเส้นผมจากน้ำมันมะรุม (ดร. จินตนา จุลทัศน์, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี) |
โครงการที่ 6 | ศักยภาพการดัดแปลงโครงสร้างทางกายภาพของชานอ้อยเพื่อใช้วัสดุเพาะเลี้ยงในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสาร lovastatin และสารสีเหลืองจากเชื้อรา Monascus purpureus (น.ส. ประภัสสร รักถาวร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 7 | การผลิตแอคติโนมัยซินจาก Streptomyces sp. TBRC 8912 เพื่อควบคุมแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv.oryzae สาเหตุโรคขอบแห้งในข้าว (ดร. จวงจันทร์ จำปาทอง, มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 8 | การประดิษฐ์นวัตกรรมจากข้าวไทยเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันวัยสูงอายุ (รศ.ดร. ศรัญญา ตันเจริญ, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 9 | ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเชื้อราอาร์บัสคูลาไมคอร์ไรซ่าและเชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน (ดร. รุจิรา ดีวัฒนวงศ์, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) |
โครงการที่ 10 | นวัตกรรมอุปกรณ์ตรวจวัดบนกระดาษสำหรับทดสอบอัลบูมิน ครีอะตินิน และกลูโคส ในปัสสาวะ ภายในคราวเดียวกัน แบบรู้ผลเร็ว เพื่อการวินิจฉัยโรคไตในพื้นที่ห่างไกล (ผศ.ดร. ณัฐวุฒิ เชิงชั้น, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 11 | การสังเคราะห์และประเมินผลวัสดุนาโนยึดติดเยื่อเมือกชนิดใหม่สำหรับเป็นระบบนำส่งยาเคมีบำบัดไปยังกระเพาะปัสสาวะ (ดร. ประสพชัย พัฒน์โรจนโสภณ, มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 12 | การศึกษาผลของเมทฟอร์มินต่อความผิดปกติของไมโทคอนเดรียของเซลล์สร้างเส้นใยที่ได้จากผู้ป่วยโรคตาบอดทางพันธุกรรมลอน (ดร. ชยานนท์ พีระพิทยมงคล, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 13 | การค้นหาสารยับยั้งแบคทีเรียจากต้นกระทือลิงโดยวิธีการแยกส่วนด้วยฤทธิ์ทางชีวภาพ (ดร. ธนธรณ์ ขอทวีวัฒนา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 14 | การเพิ่มประสิทธิภาพและเสถียรภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์โดยการใช้วัสดุเพอรอฟสไกต์สองมิติที่มีการนำไฟฟ้าสูงเป็นสารดูดกลืนแสง (ผศ.ดร. พงศ์เทพ ประจงทัศน์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 15 | การประดิษฐ์ทรงกลมกลวงระดับไมครอนซิงก์ออกไซด์เจือด้วยซีเรียมเพื่อการประยุกต์ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง (ผศ.ดร. ปวีณา เหลากูล, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 16 | การบูรณาการทฤษฎีของโลหะผสมเข้ากับการคำนวณกลศาสตร์ควอนตัมเพื่อพัฒนาและปรับปรุงสมบัติของวัสดุสองมิติจากธาตุในกลุ่มนิกโทเจนในฐานะวัสดุพลังงานและวัสดุอิเล็กทรอนิกส์อุบัติใหม่ (ดร. อรรณพ เอกธาราวงศ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 17 | การพัฒนาตัวเร่งปฎิกิริยาผสมสำหรับการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นโอเลฟินส์เบา (รศ.ดร. ธงไทย วิฑูรย์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 18 | การพัฒนาลูกกะเทาะข้าวโพดของชุดกะเทาะแบบไหลตามแกน (รศ.ดร. สมชาย ชวนอุดม, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 19 | นวัตกรรมเสริมกำลังองค์อาคารคอนกรีตที่มีกำลังอัดต่ำโดยใช้แผ่นแม่เหล็กเหนี่ยวอัดแรงรัดรอบภายหลัง (ดร. ทนงศักดิ์ อิ่มใจ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 20 | การฟื้นคืนสภาพของมรดกวัฒนธรรมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ผศ.ดร. วิติยา ปิดตังนาโพธิ์, มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
โครงการที่ 21 | ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการเคลื่อนที่ของสารอทราซีนและการย่อยสลายทางชีวภาพในดินในพื้นที่ปลูกอ้อยหนาแน่น ประเทศไทย (รศ.ดร. ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |