Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2557
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2557
Year : 2014
โครงการที่ 1 | ผลของการใช้สารสกัดสำหรับบรรจุภัณฑ์ต้านจุลินทรีย์ในอาหาร:กรณีศึกษาในชุดส้มตำพร้อมบริโภค (ผศ.ดร. ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การใช้แบคทีเรียที่มีความสามารถแบบ chemotaxis สำหรับการย่อยสลายสารอนุพันธ์ของสารปราบศัตรูพืชตกค้างในพื้นที่การเกษตร (รศ.ดร. อลิสา วังใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 3 | การขยายกำลังการผลิตเอนไซม์โปรติเอสในระดับกึ่งอุตสาหกรรมเพื่อประยุกต์ใช้ในการเตรียมน้ำยางพาราปราศจากโปรตีนภูมิแพ้ (ดร. ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้) |
โครงการที่ 4 | การตรวจสอบลูกผสม และการทำ DNA barcodes บัวประดับสกุล Nymphaea ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย (ผศ.ดร. วิภา หงษ์ตระกูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 5 | การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสโดย Pichia Stipitis (รศ.ดร. อภิชาติ บุญทาวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 6 | การเพิ่มประสิทธิภาพการสกัดเส้นใยคุณภาพสูงจากผักตบชวาด้วยวิธีทางเคมีและทางกลสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ (ดร. รังสิมา ชลคุป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร) |
โครงการที่ 7 | การวิจัยและพัฒนาน้ำหมักจากผลมังคุดสุกเพื่อเป็นอาหารเสริมในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานและโรคหัวและหลอดเลือด (รศ.ดร. จิตรบรรจง ตั้งปอง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 8 | การคัดเลือก และจัดจำแนกเชื้อแบคเทริโอฟาจที่จำเพาะต่อเชื้อ Xanthomonas axonopodis pv. citri สาเหตุโรคแคงเกอร์มะนาว (ดร. สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) |
โครงการที่ 9 | การเตรียมและสมบัติของพอลิเมอร์ไฮโดรเจลจากมาลิเอตพอลิไวนิลแอลกอฮอล์กราฟต์กัลไคโตแซนที่เติมยางธรรมชาติดัดแปรและการประยุกต์ใช้ควบคุมการปลดปล่อยสารว่องไว (ดร. สอาด ริยะจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 10 | การพัฒนากระบวนการสังเคราะห์แบบขั้นตอนเดียวเพื่อใช้ในการสังเคราะห์สารประกอบอะมิโนเอซาไบไซเคิลและอนุพันธ์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ (ดร. วรรณพร ดิสดี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์) |
โครงการที่ 11 | การพัฒนาไบโอเซ็นเซอร์ชนิดพิมพ์สกรีนเพื่อตรวจวัดค่าแอคทิวิตีของเอ็นไซม์ไฮดรอกซีเมธิลกลูตาริลโคเอนไซม์ เอ รีดักเทส (ผศ.ดร. รุ่งทิวา พลังสันติกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 12 | การเตรียมพอลิเมอร์นาโนแคปซูลที่หุ้มสารสกัดสมุนไพรไทย (ผศ.ดร. อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี) |
โครงการที่ 13 | การสร้างกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดแสงแรงอะตอมที่ใช้เข็มติดอยู่บนส้อมควอตซ์ทูนนิ่งฟอร์ค (ดร. วรศม กุนทีกาญจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 14 | การค้นหาคุณสมบัติของการเป็นโฟโตโวลตาอิกจากการสังเคราะห์อนุภาคสารกึ่งตัวนำของแมงกานีสเทลลูไรด์/คอปเปอร์เทลลูไรด์เพื่อใช้เป็นสารรับไวแสง2ชั้นบนโฟโตอิเล็กโทรดของสารกึ่งตัวนำโลหะออกไซด์สำหรับการประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ (ดร. อัฐสิษฐ์ ทับทิมแท้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (กำแพงแสน)) |
โครงการที่ 15 | การพัฒนาหัววัดพลังงานของไอออนด้วยเทคนิคสนามหน่วงสำหรับการวินิจฉัยพลาสมาในระบบแมกนีตรอนสปัตเตอริง (ดร. พิษณุ พูลเจริญศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 16 | การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพโดยการออกแบบกลุ่มประชากรจุลินทรีย์ด้วยวิธีแฟกทอเรียล (ดร. มุจลินทร์ ผลจันทร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้) |
โครงการที่ 17 | ระบบตรวจจับการล้มในอาคาร โดยใช้ Kinect (ผศ.ดร. ศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 18 | การออกแบบและสร้างชิ้นส่วนป้อนและหัวฉีดยางพาราสำหรับเครื่องพิมพ์3มิติ (รศ.ดร. วัฒนพงศ์ เกิดทองมี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 19 | การพัฒนาอุปกรณ์นาโนอิเล็กทรอนิกส์ที่รองรับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนแบบบอลลิสติคและการพัฒนาวัสดุนาโน (ดร. ศิวพล ศรีสนพันธุ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 20 | การพัฒนาระบบติดตามขบวนรถไฟด้วยแผงวงจรกำหนดตำแหน่งบนโลก(จีพีเอส)ที่เข้าถึงได้สะดวก (ดร. อาทิตย์ ศรีแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |