Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2543
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2543
Year : 2000
โครงการที่ 1 | การฟื้นฟูการผลิตส้มจุกในภาคใต้ของประเทศไทยโดยการผลิตต้นแม่พันธุ์และตาขยายพันธุ์ปลอดโรค ไปสู่เกษตรกร (ดร.รัตนา สดุดี, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การจำแนกความเหมาะสมของที่ดิน เพื่อผลิตมันสำปะหลังสำหรับโรงกลั่นแอลกอฮอล์ที่ขนาดกำลัง การผลิตขนาดกลาง โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และข้อมูลดาวเทียม (ดร. อภิสิทธิ์ เอี่ยมหน่อ, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย) |
โครงการที่ 3 | ความเป็นไปได้ในการใช้เทคนิคการเพิ่มชุดโครโมโซมเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการ เลี้ยงปลาดุกลูกผสม (ดร. อุทัยรัตน์ ณ นคร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | เทคโนโลยีการเก็บรักษากล้วยหอมทองที่เหมาะสม (ดร. สมชาย กล้าหาญ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 5 | การศึกษาการเกิดตำหนิในพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูงที่ผ่านการยืดอย่างมาก (ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 6 | การแตกตัวของพอลิสไตรีนที่ใช้แล้วโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดเบสในกระบวนการต่อเนื่อง (ดร. ตะวัน สุขน้อย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 7 | การพัฒนาระบบซีเควนเซียลอินเจคชั่นอะนาลิซิสพร้อมการประยุกต์ (ดร. เกตุ กรุดพันธ์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 8 | การวิเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงรายวันที่แท้เจริง บริเวณที่ราบภาคกลางของประเทศไทยด้วย ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดจำนวนมาก MODIS / Terra (EOS AM-1) (ดร. หรรษา วัฒนานุกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 9 | การคำนวณย้อนกลับโดยใช้การวิเคราะห์แบบพลวัตเพื่อหาค่าคุณสมบัติของโครงสร้างถนนหลายชั้น จากข้อมูลการทดสอบด้วยเครื่อง FWD (ดร. ธีระพงศ์ เสนจันทร์ฒิไชย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 10 | การพยากรณ์สภาพรองลื่นแบบกลิ้งตัวโดยการวิเคราะห์สภาพจาระบีที่ใช้แล้ว (ดร. สุรพล ราษฎร์นุ้ย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ) |
โครงการที่ 11 | การศึกษาผลของทิศทางการหมุนวนต่อเสถียรภาพเตาเผาอุตสาหกรรม (ดร. รุ่งเรือง พิทยศิริ, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 12 | การพัฒนาทฤษฎีใหม่ของระบบการควบคุมระดับที่ได้รับผลเลิศสำหรับงานอุตสาหกรรม : กรณีการลดอัตราการสูญเสียและประหยัดพลังงานและเวลาในภาคการผลิต (ดร. ทวิวัชร วีระแกล้ว, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า) |
โครงการที่ 13 | การศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างสมบัติแม่เหล็กและการกระจายของโลหะหนักในตะกอนท้องน้ำ ตลอดแนวคลองอู่ตะเภา จ.สงขลา (ดร. ไตรภพ ผ่องสุวรรณ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |