โครงการที่ 1 การพัฒนากระบวนการผลิตสาโทเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวไทย
(ดร. จิรสิน ขุนทองแก้ว, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 2 การพัฒนากระบวนการผลิตสารให้ความหวานเชิงฟังก์ชันด้วยกลุ่มเอนไซม์
ดัดแปลงคาร์โบไฮเดรตเพื่อเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบจากอุตสาหกรรมข้าว
(ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
โครงการที่ 3 การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของรำข้าวสกัดน้ำมันด้วยกระบวนการหมักแบบกึ่งแข็ง
ด้วยจุลินทรีย์โปรไบโอติก ในการเป็นอาหารเสริมในปลานิลต่อภูมิคุ้มกันเพื่อลดการใช้
ยาปฏิชีวนะระหว่างการเลี้ยง
(ผศ.ดร. มหัทธนี ภิญโญ, มหาวิทยาลัยนเรศวร)
โครงการที่ 4 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจากสารสกัดโปรตีนรำข้าวไรซ์เบอร์รี่และการศึกษากลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
(น.ส. พรพิมล จันทร์ฉาย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 5 นวัตกรรมเครื่องดื่มฟังก์ชัน คอมบูชาเพื่อสุขภาพจากข้าวสีสายพันธุ์ไทย
(ดร. ฐาปกรณ์ ชุมพล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 6 การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพและการประเมินความปลอดภัยของสารสกัดรำข้าวสังข์
หยดเพื่อใช้เป็นเครื่องสำอาง
(ดร. พรวิชัย เต็มบุตร, มหาวิทยาลัยทักษิณ)
โครงการที่ 7 การผลิตถาดเยื่อขึ้นรูปจากฟางข้าวและการพัฒนาความสามารถในการต้านทานน้ำ
ด้วยเทคนิคพลาสมาอิมเมอร์ชั่น
(ผศ.ดร. วิรงรอง ทองดีสุนทร, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง)
โครงการที่ 8 ไฮโดรเจลซ่อมแซมตัวเองแบบฉีดจากไคโตซานดัดแปรที่มีสารสกัดสมุนไพรสำหรับการรักษาบาดแผล
(รศ.ดร. อรวรรณ สุวรรณทอง, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง)
โครงการที่ 9 การสังเคราะห์สารแอริลไพริดิลอินโดล แอริลไพราซินิลอินโดล และ อินโดล-โบดิพี
ฟลูออโรโครมผ่านปฏิกิริยาลารอคที่เร่งด้วยแพลเลเดียม
(รศ.ดร. พิทักษ์ เชื้อวงศ์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 10 การพัฒนากระบวนการสังเคราะห์ N-Heterocycles ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพแบบยั่งยืน
(ดร. อรภัทร์ งามนิธิพร, สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์)
โครงการที่ 11 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันคุณภาพต่ำโดยใช้คลื่นไมโครเวฟเปรียบเทียบกับคลื่นอัลทราโซนิกส์
(รศ.ดร. ศิวพร มีจู สมิธ, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 12 อิมมูโนเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าตรวจวัดซิสเตตินซีสำหรับบ่งชี้โรคไตด้วยการปรับปรุงขั้วไฟฟ้าแบบพิมพ์สกรีนด้วยอนุภาคนาโนทองที่มีรูพรุน โพลีไทรามีน รีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์และเมททิลีนบลู
(รศ.ดร. อาภรณ์ นุ่มน่วม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
โครงการที่ 13 การพัฒนาสารสีเพื่อการประยุกต์ในการรักษามะเร็งโดยการบำบัดด้วยแสง :
การศึกษาเชิงทฤษฎี
(ศ.ดร. กฤษณะ สาคริก, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
โครงการที่ 14 การออกแบบร่องกีดขวางและหลุมจุลภาคสำหรับการดักจับและระบุชนิดของอนุภาคไมโครพลาสติก
(รศ.ดร. อลงกรณ์ พิมพ์พิณ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 15 การพัฒนาดินเหนียวสังเคราะห์ด้วยโพลีเมอร์ผสมวัสดุพื้นผิวสูงจากไบโอชาร์เพื่อใช้เป็นแผ่นกันซึมและชะลอการปนเปื้อนของสารเคมี
(ดร. สุรัติ เส็มหมัด, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก)
โครงการที่ 16 การพัฒนาแบบจําลองพฤติกรรมดินลมหอบที่เสริมเสถียรภาพด้วยซีเมนต์และวัสดุผิวทางแอสฟัลต์รีไซเคิล และการนำไปใช้งานในวิธีไฟไนอิลลิเมนต์สำหรับการออกแบบคันทางรถไฟความเร็วสูง
(รศ.ดร. จิระยุทธ สืบสุข, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน)
โครงการที่ 17 การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทางความร้อนของเลนส์ตาเพื่อช่วยป้องกันการเกิดโรคต้อกระจกเมื่อได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยใช้เทคนิคแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
(ผศ.ดร. พรทิพย์ แก่งอินทร์, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 18 การพัฒนาส่วนผสมทางเคมีของเหล็กกล้าสำหรับใช้เป็นล้อรถไฟฟ้า
(ผศ.ดร. ปิโยรส พรหมดิเรก, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ)
โครงการที่ 19 ระบบตรวจวัดก๊าซเรือนกระจก(มีเทน)ในทะเลโดยใช้ไฟเบอร์เซอเฟสพลาสมอนเรโซแนนซ์เซนเซอร์
(ดร. วรรณวิสา ทลาไธสง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
โครงการที่ 20 การขนส่งเชิงควอนตัมและสถานะยึดเหนี่ยวอังเดรฟในตัวนำยวดยิ่งทอพอโลยี
(รศ.ดร. บำเหน็จ สุดชมโฉม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)