Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2560
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2560
Year : 2017
โครงการที่ 1 | ประสิทธิภาพของราเอนโดไฟด์ในการควบคุมเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ (ดร. ศิระประภา มหานิล, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การเก็บรักษา ขยาย และทดสอบประสิทธิภาพไส้เดือนฝอยก่อโรคในหอยทาก ในระดับห้องปฏิบัติการเพื่อใช้ควบคุมหอยทากศัตรูพืชในสวนกล้วยไม้ (ดร. เกรียง กาญจนวตี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 3 | นวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวสีของไทยเสริมโปรไบโอติคเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรและส่งเสริมสุขภาพในสังคมผู้สูงอายุ (ดร. ศรัณย์ พรหมสาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์โฟมยางพาราผสมสารฟีโรโมน methyl eugenol สำหรับดึงดูดแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) (ผศ.ดร. นริศ ท้าวจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 5 | การวิเคราะห์หาโปรตีนในข้าวที่เกี่ยวข้องกับกลไกการต้านทานโรคขอบใบแห้ง (ดร. สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม มหาวิทยาลัยแม่โจ้) |
โครงการที่ 6 | สมดุลฮอร์โมนพืชเพื่อการผลิตบัวหลวงตัดดอกนอกฤดู (ผศ.ดร. ภาณุพล หงษ์ภักดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 7 | ชีววิทยาเชิงระบบของงาขี้ม้อน (Perilla frutescens) เพื่อสืบหากระบวนการสังเคราะห์กรดไขมันโอเมก้าสามในพืช (ดร. ศุภชัย โตภาณุรักษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 8 | การออกแบบรังเทียมเพื่อใช้ในการเลี้ยงและเพิ่มจำนวนแมลงภู่ในการเพิ่มผลผลิตของกาแฟ (ผศ.ดร. ณัฐพจน์ วาฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 9 | วัสดุชีวะของสารเรืองแสงกลุ่มเอซาโบรอนไดเพอร์โรเมธีนสำหรับการถ่ายภาพและรักษามะเร็งโดยใช้แสง (ดร. อัญญานี คำแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 10 | การพัฒนาเซ็นเซอร์แบบใช้แล้วทิ้งโดยอาศัยนาโนคอมโพสิต รีดิวซ์กราฟีนออกไซด์และอนุภาคแม่เหล็กนาโนปรับปรุงบนอิเล็กโทรดแบบพิมพ์สกรีนเพื่อตรวจวัดสารเร่งเนื้อแดงแรคโตพามีนในเนื้อหมู (ผศ.ดร.รุ่งทิวา ภู่อาภรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 11 | การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีตำแหน่งเร่งหนึ่งตำแหน่งเพื่อผลิตพลาสติกชีวภาพ (ผศ.ดร. พิมพา หอมนิรันดร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 12 | การประยุกต์ใช้แผ่นแปะผิวทดสอบวัณโรคระยะแฝง (ดร. ทรงศรี เกษมพิมลพร สถานเสาวภา สภากาชาดไทย) |
โครงการที่ 13 | การผลิตแผ่นยางฟองไร้สารตะกั่วสำหรับการใช้งานกำบังรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมา (ผศ.ดร. เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 14 | การศึกษาปรากฏการณ์ไฟน์สตรักเจอร์สปริตติ่งในคอร์/มัลติเชลล์นาโนคริสตอลโดยใช้การคำนวณแบบไทด์บายดิ่ง (ผศ.ดร. วรศักดิ์ สุขบท มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) |
โครงการที่ 15 | เครื่องรามานสเปกโตรมิเตอร์แบบพกพาเพื่อใช้ตรวจวัดไอออนปรอท (ดร. ปกรณ์ ปรีชาบูรณะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) |
โครงการที่ 16 | เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงจากเปลือกมังคุดและคาร์บอนคล้ายเพชร (ดร. วสันต์ ไมอักรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 17 | การเพิ่มมูลค่าทะลายปาล์มเปล่าสำหรับการผลิตเจลดูดซับน้ำยิ่งยวดเพื่อใช้ในงานด้านการเกษตรแนวใหม่ (ผศ.ดร. จุฬารัตน์ ศักดารณรงค์ มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 18 | การศึกษาการเผาไหม้ฟางข้าว และการเผาไหม้ฟางข้าวร่วมกับถ่านหินบิทูมินัสในเตาเผาไหม้แบบตะกรับ (รศ.ดร. ฐานิตย์ เมธิยานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร) |
โครงการที่ 19 | การพัฒนาอนุภาคนาโนในอุปกรณ์ของไหลจุลภาคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแยกและการตรวจหาเซลล์มะเร็งในกระแสเลือด (ดร. สรชา ธรรมภิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |
โครงการที่ 20 | การศึกษาคุณสมบัติของหินชนิดต่างๆ เพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการใช้เป็นหินโรยทางรถไฟ (ผศ.ดร. สยาม ยิ้มศิริ มหาวิทยาลัยบูรพา) |