Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2559
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2559
Year : 2016
โครงการที่ 1 | การผลิตสตาร์ชที่ทนย่อยโดยเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร เพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ (ผศ.ดร. เกื้อการุณย์ ครูส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
---|---|
โครงการที่ 2 | ผลของฮอร์โมนจูวีไนล์สังเคราะห์ต่อพัฒนาการของรังไข่ในดักแด้หนอนเยื่อไผ่ (Omphisa fuscidentalis) (ผศ.ดร. มนพร มานะบุญ พูลแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 3 | ศึกษาโปรตีนเป้าหมายของสารกลุ่ม Isocryptolepine ที่มีฤทธิ์ต้านมาลาเรีย (ผศ.ดร. อรภัค เรี่ยมทอง มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 4 | การปนเปื้อนสารพิษที่มาจากเชื้อราที่มีอยู่ตามธรรมชาติในผลิตภัณฑ์ข้าวปลอดสารเคมี (ดร. วุทิวัชฒ์ จิตจักร มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 5 | การแปรรูปเห็ดป่าเอคโตไมคอร์ไรซ่าชนิดบริโภคได้ที่มีคุณสมบัติลดระดับน้ำตาลและคอเลสเตอรอลเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร (ดร. ณัฎฐิกา สุวรรณาศรัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) |
โครงการที่ 6 | การเจริญเติบโตของปูทะเล (Scylla sp.) หลังการลอกคราบ (ดร. ภัทราวดี ศรีมีเทียน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์) |
โครงการที่ 7 | ปฏิสัมพันธ์ระดับโมเลกุลระหว่างแอคติโนมัยสีทเอนโดไฟด์กับข้าว เพื่อส่งเสริมการเจริญและลดความเครียดของข้าวในสภาวะเค็ม (รศ. อรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 8 | คุณค่าทางโภชนาการและสมบัติเชิงสุขภาพของผักและสมุนไพรที่ใช้ในตำรับอาหารไทย (ดร. ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 9 | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสารทุติยภูมิในกล้วยไม้ว่านเพชรหึงที่เลี้ยงในระบบ Temporary Immersion Bioreactor (ดร. วรรณสิริ วรรณรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 10 | การประยุกต์ใช้สีสังเคราะห์และสารข้นจากแป้งหัวบอนดัดแปรสำหรับพิมพ์ผ้าไหมและผ้าฝ้าย (ผศ.ดร. รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร) |
โครงการที่ 11 | การวิศวกรรมนาโนบอดีผ่านเข้าเซลล์ที่ยับยั้งไทโรซีนไคเนสของ ErbB-2ด้วยการผสมผสานเทคนิคชีวเคมีคอมพิวเตอร์และการทดลองในห้องปฏิบัติการ (รศ.ดร. เกียรติทวี ชูวงศ์โกมล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 12 | การพัฒนาตัวดูดซับชนิดเบาพิเศษจากชีวมวลที่มีประสิทธิภาพในการเลือกดูดซับน้ำมันและดักจับโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำเสียจากอุตสาหกรรม (ผศ.ดร.สุวดี ก้องพารากุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) |
โครงการที่ 13 | การพัฒนาสมบัติด้านการนำไฟฟ้าของวัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลสเพื่อการประยุกต์ใช้งานในเซลแสงอาทิตย์ (ดร. ศรุต อำมาตย์โยธิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) |
โครงการที่ 14 | การศึกษาผลกระทบของคลื่นเหนือเสียงที่มีต่อการผลิตน้ำมันของสาหร่าย Botryococcus braunii (ผศ.ดร. สรศักดิ์ ด่านวรพงศ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 15 | ตัวตรวจไอออนปรอทแบบกระดาษโดยการวัดสีตามคุณสมบัติพลาสมอน (ดร. ศุภลักษณ์ อำลอย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง) |
โครงการที่ 16 | การพัฒนาวัสดุปิดและสมานแผลจากสารสกัดหยาบใบสาบเสือในรูปแบบของเส้นใยนาโนและไฮโดรเจล (ดร. นริศร์ บาลทิพย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี) |
โครงการที่ 17 | การออกแบบและสร้างเข่าเทียมไฮดรอลิกสำหรับผู้พิการขาขาดที่แข็งแรง (ผศ.ดร. ชัญญาพันธ์ วิรุฬศรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 18 | การออกแบบวงจรรักษาระดับแรงดันแบบแรงดันตกคร่อมต่ำและมีประสิทธิภาพสูงโดยไม่ใช้ตัวเก็บประจุภายนอกในระบบแผงวงจรรวมพลังงานต่ำ (ผศ.ดร. วรดร วัฒนพานิช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 19 | การพัฒนาตัวแบบเฝ้าระวังการระบาดของไข้เลือดออกโดยใช้ดัชนีพืชพรรณจากการรับรู้ระยะไกลและการวิเคราะห์วัฏจักรปรากฏการณ์เอนโซ่ (รศ.ดร. กิตติศักดิ์ เกิดประสพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 20 | นวัตกรรมการผลิตเลนส์พอลิเมอร์สำหรับทัศนูปกรณ์แสงด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เพื่อสร้างทัศนูปกรณ์แสงและอุปกรณ์แสงทางวิทยาศาสตร์ (ดร.สื่อจิตต์ เพ็ชร์ประสาน มหาวิทยาลัยรังสิต) |