โครงการที่ 1 การพัฒนาเส้นใยไคตินขนาดนาโนสำหรับการใช้งานทางด้านบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ
(ผศ.ดร.สุภโชค ตันพิชัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
โครงการที่ 2 นวัตกรรมข้าวหมากซินไบโอติก จากข้าวเหนียวดำกล้องงอกและการปรับปรุงคุณภาพด้วยเทคโนโลยีเอนไซม์
(ศ.ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
โครงการที่ 3 ลักษณะสมบัติทางชีวเคมีของตัวยับยั้งทริปซินจากเมล็ดทุเรียนสำหรับการประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มมูลค่า
(ดร.กิตติคุณ วังกานนท์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 4 การยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยการเคลือบด้วยนาโนเซลลูโลสที่บรรจุลิกนิน
(รศ.ดร.ประกิต สุขใย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 5 การวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์และการก่อโรคใบไหม้ผักตบชวาที่เกิดจากเชื้อรา Paramyrothecium สายพันธุ์ KKFC448
(รศ.ดร.จินตนา อันอาตม์งาม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 6 การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านจีโนมของโปรไบโอติกส์เพื่อพัฒนาอาหารเสริมต้านโรค
ในสัตว์น้ำ
(รศ.ดร.โสรยา จาตุรงคกุล, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 7 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพจากผักผลไม้เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย
(ผศ.ดร.รวิวรรณ วงศ์ภูมิชัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
โครงการที่ 8 การพัฒนายารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าต่อโปรตีน EGFR จากสาร Aurisin A ที่สกัดจากเห็ดเรืองแสง Neonothopanus nambi โดยใช้เทคนิคทางเคมีคอมพิวเตอร์ขั้นสูง การสังเคราะห์ทางเคมี และการทดลองในระดับชีววิทยาโมเลกุล
(ดร. ภาณุพงศ์ มหาลาภบุตร, มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
โครงการที่ 9 ผลึกศาสตร์และการวิศวกรรมผลึกของโครงข่ายโลหะ-อินทรีย์สำหรับดักจับคาร์บอนไดออกไซด์และการแปลงเป็นสารเคมีที่มีมูลค่าเพิ่ม
(รศ. ดร. กิตติพงศ์ ไชยนอก, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
โครงการที่ 10 แผ่นแปะไมโครนีเดิลส์ชนิดละลายบรรจุพอลิเมอร์สังเคราะห์ อนุพันธ์ของไคโตซานชนิดใหม่ในรูปแบบพอลิเมอริกไมเซลล์ที่สามารถบริหารยาด้วยตนเองสำหรับนำส่งเอสตร้าไดออล ออกฤทธิ์นานเพื่อการรักษา
(ดร. บุณณดา ภมรปฐมกุล, มหาวิทยาลัยศิลปากร)
โครงการที่ 11 การพัฒนาวัสดุโครงข่ายโลหะอินทรีย์เพื่อดูดซับโลหะหนักในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย
(ดร. กนกวรรณ กองพัฒน์พาณิชย์, สถาบันวิทยสิริเมธี)
โครงการที่ 12 ตัวเร่งปฎิกิริยาพอลิเมอร์สารกึ่งตัวนำที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบ สำหรับกระบวนการเปลี่ยนรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารเคมีมูลค่าสูงในปฎิกิริยาเชิงแสง
(ดร. จัญจุดา อุ่นเรืองศรี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 13 การสังเคราะห์สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติซึ่งมีฤทธิ์ต้านมะเร็ง
(รศ.ดร.ไพบูลย์ เงินมีศรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 14 ตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนที่มีสมบัติแม่เหล็กและรูพรุนแบบมีโซโดยการสังเคราะห์แบบยั่งยืนจากลิกนินและการนำไปใช้เพื่อการผลิตสารมูลค่าเพิ่มเฟอร์ฟิวรัลกับเฟอร์ฟิวริลแอลกอฮอล์จากน้ำตาล
(ผศ.ดร. แหลมทอง ชื่นชม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ )
โครงการที่ 15 การค้นคว้าสารไฮไดรด์ชนิดใหม่และปรับปรุงกลไกภายในเพื่อเป็นแหล่งพลังงานไฮโดรเจนในยานยนต์
(รศ.ดร. ประยูรศักดิ์ เปลื้องผล, มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ)
โครงการที่ 16 อุปกรณ์พลาสมอนที่ทำจากกราฟีนเพื่อการพัฒนาเลเซอร์อิเล็กตรอนอิสระย่านรังสีเอ็กซ์
(รศ.ดร.รัชนก สมพรเสน่ห์,  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
โครงการที่ 17 การศึกษาประสิทธิภาพของกระบวนการรวมตะกอนสำหรับกำจัดอนุภาคพลาสติกขนาดเล็กในระบบบำบัดน้ำ
(ศ.ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 18 การพัฒนาเครื่องอุ่นลวดในกระบวนการเชื่อมลวดเชื่อมไส้ ฟลักซ์ด้วยขดลวดเหนี่ยวนำความร้อนสำหรับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมโครงสร้างเหล็ก
(รศ. ดร.อภิชาติ โรจนโรวรรณ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 19 การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับพัฒนาการทำงานกลไกยืดหยุ่นสำหรับการหยิบจับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
(รศ.ดร.ธีรนุช จันทโสภีพันธ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
โครงการที่ 20 การขึ้นฉีดรูปผงโลหะผสมไทเทเนียมชนิดใหม่ที่มีอิลาสติกโมดูลัสต่ำใกล้เคียงกับกระดูกมนุษย์สำหรับการใช้งานทางการแพทย์
(ดร. อัญชลี มโนนุกุล, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ)