Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2554
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2554
Year : 2011
โครงการที่ 1 | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชบนอาหารที่ทำให้ปลอดเชื้อโดยไม่ต้องนึ่งฆ่าเชื้อ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
---|---|
โครงการที่ 2 | สัณฐานวิทยา และสมบัติเชิงกายภาพเคมีของข้าวฮางในระหว่างการหุง (ดร. โสรยา เกิดพิบูลย์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 3 | การเพิ่มมูลค่าข้าวพันธุ์พื้นเมืองไทยด้วยเทคนิคการอบแห้งที่อุณหภูมิสูง (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดลฤดี ใจสุทธิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 4 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์โจ๊กข้าวหอมมะลิที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำจากข้าวสารหอมมะลิหัก (รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริธร ศิริอมรพรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 5 | การพัฒนาสูตรอาหารที่สามารถกระตุ้นการสืบพันธุ์ของพ่อและแม่พันธุ์กุ้งก้ามกราม (ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ โศภน มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 6 | การพัฒนาหัวเชื้อแอคติโนมัยซีทสำหรับควบคุมทางชีวภาพโรคของกล้วยไม้ (รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร กิจปรีชาวนิช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 7 | สารชีวภาพป้องกันอาหารเน่าเสียจากแบคทีเรียโปรไบโอติก (ดร. จอมขวัญ มีรักษ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 8 | การพัฒนาต้นแบบของกระบวนการวิเคราะห์ยาที่ปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยแนวทาง 6-R (รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรศักดิ์ โรจนราธา มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 9 | การพัฒนาสารต้นแบบเพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งจากพืชสกุล Gardenia (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขนิษฐา พุดหอม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 10 | การสังเคราะห์พอลิเมอร์รอยประทับที่มีความสามารถจับจำเพาะต่อตัวบ่งชี้ของกลุ่มอาการเมตาบอลิก (ดร. สมชาย บุญเพ็งรักษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 11 | การควบคุมสมบัติการเปลี่ยนสีเมื่อให้ความร้อนของวัสดุเชิงประกอบระดับนาโนของพอลิไดอะเซทติลีน/โลหะออกไซด์: ผลของนาโนซับสเตรทและโครงสร้างพอลิเมอร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิศานาถ ไตรผล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 12 | การสังเคราะห์และจัดเรียงอนุภาคนาโนเหล็กพลาตินัม เพื่อการบันทึกข้อมูลความจุสูง (รองศาสตราจารย์ ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) |
โครงการที่ 13 | การศึกษาขอบเขตความน่าจะเป็นของการส่งผ่านและการสะท้อน: การแทรกสอดแบบเสริมและแบบหักล้าง (ดร. เพชรอาภา บุญเสริม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 14 | โครงสร้างทางอิเล็กทรอนิกส์และคุณสมบัติเชิงแสงของ InAs/CdSe นาโนคริสตัลแบบ core/shell : การศึกษาขั้นเบื้องต้นเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูง (ดร. ธีระพงษ์ พวงมะลิ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 15 | การพัฒนาระบบตรวจวัดมลพิษอากาศด้วยก๊าซเซนเซอร์ท่อนาโนคาร์บอนไฮบริด (ดร. วินัดดา วงศ์วิริยะพันธ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 16 | ปัจจัยเสี่ยงการเกิดภัยดินถล่มและแนวทางการจัดการภัยดินถล่มในจังหวัดภูเก็ต (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัญญา วงศ์ธนะบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต) |
โครงการที่ 17 | การผลิตแบริ่งพลวง (White Metal) โดยกระบวนการโลหะกึ่งของแข็ง (ดร. เสวียง เถื่อนบุญ กรมอู่ทหารเรือ) |
โครงการที่ 18 | การใช้วัสดุเส้นใยสังเคราะห์สำหรับเป็นระบบระบายน้ำในกำแพงกันดินเสริมแรง (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อวิรุทธิ์ ชินกุลกิจนิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) |
โครงการที่ 19 | การดูดซับและการเคลื่อนตัวแบบทำปฎิกิริยาของโลหะหนักในชั้นน้ำบาดาลระดับตื้น: กรณีศึกษาหลุมฝังกลบขยะเทศบาลแหลมฉบัง จ.ชลบุรี (ดร. ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 20 | การเปลี่ยนผักตบชวาเป็นสารเคมีพื้นฐานสำหรับการประยุกต์ใช้งานด้านการเกษตรและเคมีชีวภาพด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ที่มีโครงสร้างระดับนาโน (ดร. ขจรศักดิ์ เฟื่องนวกิจ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ) |
โครงการที่ 21 | การใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยโพลีเมอร์ร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งการฟื้นฟูน้ำใต้ดินและดินในประเทศไทยที่ปนเปื้อนด้วยมลสารอินทรีย์ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ (ดร. ธนพล เพ็ญรัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร) |