Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2553
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2553
Year : 2010
โครงการที่ 1 | การพัฒนาแป้งท้าวยายม่อมดัดแปรเพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์และการประยุกต์ในเภสัชภัณฑ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา พิริยะประสาธน์, มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
---|---|
โครงการที่ 2 | เอนไซม์สลายไฟบรินจากเพรียงทราย Perinereis nuntia (ดร. อภิชาติ กาญจนทัต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 3 | การวิเคราะห์โปรตีโอมิกเพื่อศึกษาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ไตรเอซิลกีลเซอรอล์ของจุลสาหร่ายเพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตไบโอดีเซลของจุลสาหร่าย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรพล พิบูลโภคานันท์, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 4 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากสารสกัดรำข้าวไทยโดยใช้เทคโนโลยีนาโนสำหรับรักษาอาการผมร่วงทางพันธุกรรม (ศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิง อรัญญา มโนสร้อย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 5 | การศึกษารหัสพันธุกรรมบนไมโทคอนเดรีย เพื่อพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอสำหรับระบุชนิด และสายวิวัฒนาการของปลากัดป่ามหาชัย สำหรับการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์และการอนุรักษ์ (ดร. อัครพงษ์ สวัสดิพงษ์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 6 | การแยกและศึกษายีนที่มีความสำคัญต่อการก่อโรคในพืชของแบคทีเรียแซนโทโมนาส (ดร. ไพบูลย์ วัฒนวิบูลย์, สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์) |
โครงการที่ 7 | การผลิตหัวเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซาชนิดที่ใช้เป็นอาหารได้กับกล้าไม้ในแปลงเพาะที่ใช้ในโครงการการปลูกป่าตามแนวพระราชดำริฯ โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณหนองอึ่ง จังหวัดยโสธร (ดร. เชิดชัย โพธิ์ศรี, มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม) |
โครงการที่ 8 | การสำรวจและศึกษาความหลากหลายของเชื้อไวรัส Cymbidium Mosaic Virus และ Odontoglossum Ringspot Virus สาเหตุโรคกล้วยไม้ในประเทศไทย (ดร. โสพิศ สว่างจิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา) |
โครงการที่ 9 | การผลิตผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากไขรำข้าว (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กรณ์กนก อายุสุข, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 10 | การเตรียมไมโครไฟบริล การปรับปรุงผิวของเส้นใยมะพร้าวและไมโครไฟบริลเพื่อใช้เป็นวัสดุเสริมแรงในวัสดุคอมโพสิทชีวภาพ (รองศาสตราจารย์ ดร. วิไล รังสาดทอง, มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ) |
โครงการที่ 11 | วิธีวัดใหม่เฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดวงใจ นาคะปรีชา, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 12 | การสังเคราะห์และฤทธิ์ทางชีวภาพของอนุพันธ์ซัลโฟนาไมด์ (ดร. รัชนก ปิ่นแก้ว, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) |
โครงการที่ 13 | วัสดุเชิงประกอบแบบไม่ถักทอจากเส้นใยพอลิแล็กติกแอซิดและเส้นใยเซลลูโลสธรรมชาติผสมระหว่างเส้นใยกัญชงกับเส้นใยทะลายปาล์มน้ำมัน (ดร. ศิริศาส เอื้อใจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ) |
โครงการที่ 14 | การเพิ่มประสิทธิภาพของเคอร์คูมินในการบำบัดโรคมะเร็งด้วยระบบนำส่งนาโน (ดร. วรายุทธ สะโจมแสง, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ) |
โครงการที่ 15 | การศึกษาควอไซนอมัลโหมดของหลุมดำในมิติต่างๆ และผลของสนามคาเมเลียนในปรากฎการณ์เลนส์ความโน้มถ่วงระดับกาแล็คซี่ (ดร. ปิยบุตร บุรีคำ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 16 | การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของเมเซอร์ในบริเวณเกิดดาว (ดร. กิติยานี อาษานอก มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 17 | การสังเคราะห์และสมบัติทางเทอร์โมอิเล็กทริกส์ของแคลเซียมโคบอลไทต์ เตรียมโดยวิธีไฮโดรเทอร์มอล (ดร. สุปรีดิ์ พินิจสุนทร, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 18 | การปลูกด้วยวิธีเอ็มโอซีวีดีและการหาลักษณะเฉพาะของฟิล์มบาง InN และ InGaN เพื่อการประยุกต์ใช้ในเซลแสงอาทิตย์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สกุลธรรม เสนาะพิมพ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย) |
โครงการที่ 19 | การศึกษาสมบัติสองสถานะทางไฟฟ้าของอุปกรณ์หน่วยความจำที่สร้างจากวัสดุไฮบริดสารอินทรีย์และผลึกโลหะระดับนาโนเมตร (ดร. เบญจพล ตันฮู้, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 20 | การพัฒนาระบบเครือข่ายสถานีสังเกตการณ์จีพีเอสสองความถี่และการศึกษาปริมาณอิเล็กตรอนในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์เหนือประเทศไทย (รองศาสตราจารย์ ดร. พรชัย ทรัพย์นิธิ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) |
โครงการที่ 21 | การขึ้นรูปแผ่นปะกะโหลกเทียมจากไทเทเนียมแผ่นด้วยกรรมวิธีการขึ้นรูปแบบลูกโซ่ (นายกิตติภัฎ รัตนจันทร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ) |
โครงการที่ 22 | การศึกษาคุณลักษณะการกระแทกของลำพุ่งความเร็วสูงภายในของเหลว (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนิรุตต์ มัทธุจักร์, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) |
โครงการที่ 23 | การศึกษาอิทธิพลของการให้ภาระทางกลแบบต่างๆ ต่อการสร้างกระดูกใหม่ภายนอกร่างกายบนคอลลาเจน Scaffold ชนิดที่ 1 โดยใช้ระบบสังเกตการณ์แบบไม่ทำลาย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนรรฆ ขันธะชวะนะ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 24 | การกำจัดสารพลอยได้จากขบวนการฆ่าเชื้อโรคในกระบวนการผลิตน้ำประปาโดยการดูดซับบนเมโซพอรัสซิลิเกตที่มีการต่อติดหมู่ฟังก์ชันชนิดต่างๆ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาน ปัญญาพลกุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 25 | ระบบวัดองค์ประกอบเนื้อยางแห้งในน้ำยางดิบต้นทุนต่ำด้วยเทคนิคไมโครเวฟหกพอร์ต (รองศาสตราจารย์ ดร. มิตรชัย จงเชี่ยวชำนาญ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) |