โครงการที่ 1 การศึกษาคุณสมบัติการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชจากเชื้อ Streptomyces spp.
และผลกระทบต่อไมโครไบโอมบริเวณดินใกล้รากพืชเพื่อการเกษตรแบบยั่งยืน
(ผศ.ดร.บังอรศิริ อินตรา, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 2 การระบุชนิดและการพัฒนาวิธีการตรวจเชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบด่างหม่อนอย่างจำเพาะ
(ดร. สุรศักดิ์ ขันคำ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
โครงการที่ 3 ศักยภาพของพันธุ์มะเขือเทศเชอรี่ที่ปรับปรุงพันธุ์ภายใต้ระบบอินทรีย์และความสัมพันธ์ของแบคทีเรียบริเวณรากพืชกับการตอบสนองของพันธุ์ต่อระบบการผลิตแบบอินทรีย์
(ดร. พวงเพชร พิมพ์จันทร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์)
โครงการที่ 4 การสำรวจพันธุ์ยางที่สร้างกรดไขมันฟูแรนปริมาณสูงและพัฒนากระบวนการสกัด
เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
(ดร.ศิริลักษณ์ เลี้ยงประยูร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 5 ปัจจัยทางกายภาพบางประการและการพัฒนาระบบเลี้ยงปลากัด (Betta splendens) แบบหนาแน่นในเชิงพาณิชย์
(รศ.ดร.การุณ ทองประจุแก้ว, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
โครงการที่ 6 คุณสมบัติของแป้งข้าวสำหรับการดูดซึมและการย่อยที่ต่ำเพื่อการลดดัชนีน้ำตาล
(ดร. ธิดารัตน์ มอญขาม, มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
โครงการที่ 7 การพัฒนาต้นแบบการผลิตไบโอเอทานอลและกลไกระดับโมเลกุลของยีสต์ทนร้อน
จากชีวมวลกล้วยน้ำว้า
(ผศ.ดร.พงศนาถ ผ่องเจริญ, มหาวิทยาลัยนเรศวร)
โครงการที่ 8 ผลของสารสกัดสมุนไพรพื้นบ้านต่อการยับยั้งกระบวนการเติมหมู่น้ำตาลบนโปรตีนในเซลล์มะเร็งตับ
(ดร. จารุพงษ์ แสงบุญมี, มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
โครงการที่ 9 การพัฒนาสารอินทรีย์เรืองแสงสำหรับศึกษาโรคอัลไซเมอร์ในเซลล์มนุษย์
(ดร. ชณัท อ้นบางเขน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 10 เทคโนโลยีวิเคราะห์มวลความเร็วสูงเพื่อพัฒนาเอนไซม์ย่อยพลาสติกพอลิเอทิลีน
เทเรพทาเลตเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิแบบยั่งยืน
(ดร. ชยสิทธิ์ อุตมาภินันท์, สถาบันวิทยสิริเมธี)
โครงการที่ 11 เซนเซอร์เคมีไฟฟ้าแบบพกพาสำหรับการวิเคราะห์สารบ่งชี้ทางชีวภาพของโรคระบบประสาทส่วนกลาง
(ผศ.ดร. กมลวัช งามเชื้อ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
โครงการที่ 12 การผลิตสารประกอบนอนไรโบโซมอลเปปไทด์จากเชื้อราที่มีศักยภาพทางการแพทย์ด้วยวิธีชีววิทยาสังเคราะห์
(รศ.ดร. ปกรณ์ วรรธนะอมร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 13 การพัฒนาวิธีการสังเคราะห์แบบอสมมาตรของสารไครัลอินทรีย์ที่มีฟลูออรีนอะตอมเป็นองค์ประกอบประเภท gem-difluorinated spirooxindole-pyrrolidines เพื่อพัฒนาเป็นสารต้นแบบที่มีฤทธิ์ยับยั้งมะเร็ง
(รศ.ดร. ดรุณี สู้รักรัมย์, มหาวิทยาลัยมหิดล)
โครงการที่ 14 การผลิตและประสิทธิภาพการต้านมะเร็งของเปบไทด์ชีวภาพที่ผลิตจากไส้เดือนดินสายพันธุ์ไทย Amynthas arenulus
(รศ.ดร. มงคล ถิรบุญยานนท์, มหาวิทยาลัยแม่โจ้)
โครงการที่ 15 อุปกรณ์วิเคราะห์อย่างง่ายแบบหมุนเหวี่ยงบนฐานกระดาษร่วมกับเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนไตรท์และไนเตรทที่ตกค้างในอาหารเนื้อสัตว์แปรรูป
(รศ.ดร. อัญชลี สำเภา, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
โครงการที่ 16 การปรับปรุงการแทนที่ของไหลสำหรับการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์: การควบคุมของเคมีของไหล
(ผศ.ดร.สุพฤทธิ์ ตั้งพฤทธิ์กุล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
โครงการที่ 17 การตรวจคัดกรองอย่างรวดเร็วถูกต้อง ต้นทุนต่ำ: ระบบการวิเคราะห์การแยกพิสูจน์สปีชีส์ของ Aspergillus ที่แยกได้จากสิ่งส่งตรวจทางคลินิกโดยใช้ฐานข้อมูลการเรียนรู้เชิงลึกเปรียบเทียบกับ MALDI-TOF MS และ sequencing
(ผศ.ดร. ปรัชญา เปรมปราณีรัชต์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
โครงการที่ 18 การพัฒนาเซ็นเซอร์ตัวเก็บประจุที่ใช้ตรวจหาปริมาณเนื้อยางพาราแห้งในน้ำยางพาราสด
(ผศ.ดร.นิวัตร์ อังควิศิษฐพันธ์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
โครงการที่ 19 การพัฒนาเซนเซอร์เคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดสารสกัดกัญชา (THC) ในอาหาร
(รศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 20 การขนส่งอิเล็กตรอนเชิงควอนตัมในโครงสร้างผสมแบบแวนเดอร์วาลส์
(ผศ.ดร. ธิติ เตชธนพัฒน์, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)