Home ▸ ผู้ได้รับรางวัล ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ▸ ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2549
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2549
Year : 2006
โครงการที่ 1 | การวิจัยและพัฒนาข้าวพันธุ์พื้นบ้านของชาวปกากะญอ กลุ่มหมู่บ้านแม่แฮใต้ ต.ปางหินฝน อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ (รองศาสตราจารย์ ดร. พาณี ศิริสะอาด, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
---|---|
โครงการที่ 2 | การผลิตเอทานอลบริสุทธิ์ 99.5% สำหรับเป็นพลังงานทดแทน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล, มหาวิทยาลัยรังสิต) |
โครงการที่ 3 | การขยายพันธุ์สบู่ดำ (Jatropha Curcas L.) โดยเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อสนับสนุนการปลูกเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา, มหาวิทยาลัยศิลปากร) |
โครงการที่ 4 | การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อผลิตไบโอดีเซล (รองศาสตราจารย์ ดร. ฒาลิศา ยุวอมรพิทักษ์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) |
โครงการที่ 5 | คลังของเพพไทด์สังเคราะห์: เพพไทด์ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของราที่ก่อโรคในกล้วยไม้ (ดร. ปาหนัน เริงสำราญ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 6 | การพัฒนาการใช้ประโยชน์ของกากเมล็ดสบู่ดำเพื่อผลิตเป็นสารมูลค่าเพิ่ม (รองศาสตราจารย์ ดร. วรพจน์ สุนทรสุข, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |
โครงการที่ 7 | การผลิตกลิ่นแวนิลลาจากต้นปาล์มน้ำมัน ภายหลังการระเบิดด้วยไอน้ำ (ดร. พิลาณี ไวถนอมสัตย์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 8 | การใช้ประโยชน์มดเพื่อแก้ปัญหาความยากจนในประเทศไทย (รองศาสตราจารย์ ดร. เดชา วิวัฒน์วิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 9 | การศึกษาโครงสร้างของสารตัวอย่างระหว่างเหล็กและแป้ง (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เอกสิทธิ์ สมสุข, มหาวิทยาลัยมหิดล) |
โครงการที่ 10 | การสร้างพันธะเคมีโดยใช้ไมโครเวฟ: การประยุกต์ใช้ในการสังเคราะห์สารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ (ดร. นพพร ทัศนา, สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์) |
โครงการที่ 11 | การศึกษาเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับสมบัติทางโครงสร้างและสมบัติทางอิเล็กทรอนิกของคาร์บอนนาโนทิวบ์แบบผนังชั้นเดียวที่มีหมู่ฟังก์ชั่นแบบต่างๆ เกาะอยู่ (ดร. ชาญ อินทร์แต้ม, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) |
โครงการที่ 12 | การผลิตและศึกษาสมบัติของโครงสร้างทางอิเล็กทรอนิคส์ของคาร์บอนคล้ายเพชร (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญโชติ เผ่าสวัสดิ์ยรรยง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 13 | ศึกษาการขนส่งน้ำผ่านท่อนาโนคาร์บอนผนังเดี่ยวด้วยวิธีการจำลองเชิงคอมพิวเตอร์ (ดร. ศรีประจักษ์ ครองสุข, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) |
โครงการที่ 14 | การปรับปรุงสมบัติทางกลของสารพิโซเซรามิกด้วยเทคนิคนาโนคอมโพสิต (รองศาสตราจารย์ ดร. สุพล อนันตา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 15 | การจำลองการเร่งอนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ที่คลื่นกระแทก (ดร.ชาญเรืองฤทธิ์ จันทร์นอก, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) |
โครงการที่ 16 | การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ฉีดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยาง (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภสิทธิ์ รอดขวัญ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
โครงการที่ 17 | การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการเตือนภัยคลื่นสึนามิ สำหรับประเทศไทย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสรี ศุภราทิตย์, มหาวิทยาลัยรังสิต) |
โครงการที่ 18 | การใช้สนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบีบสกัดน้ำมันจากพืชน้ำมัน (ดร. ยงยุทธ เฉลิมชาติ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) |
โครงการที่ 19 | การพัฒนาโครงเลี้ยงเซลล์ที่ทำจากเจลาตินและไคโตซานเพื่อใช้งานในวิศวกรรมเนื้อเยื่อ (รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริพร ดำรงค์ศักดิ์กุล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) |
โครงการที่ 20 | การศึกษาพฤติกรรมทางพลวัติของแอ็คชูเอเตอร์แบบซ้อนกันเป็นชั้น ชนิด Thunder (ดร. สนติพีร์ เอมมณี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) |