โครงการที่ 1 การผลิตเส้นใยนาโนต้นแบบที่มีสารออกฤทธิ์จากข้าวหอมมะลินิลเพื่อพัฒนาไปเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับการรักษาบาดแผล
(ผศ.ดร. อรทัย วีระนันทนาพันธุ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
โครงการที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มข้าวสังข์หยดโดยใช้แบคทีเรียโปรไบโอติก Lacticaseibacillus paracasei
(รศ.ดร. ชลธิชา รมยะสมิต, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
โครงการที่ 3 การอนุรักษ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไทยด้วยการบูรณาการหลักเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมและวิศวกรรมปฏิกิริยาเพื่อผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มูลค่าสูงอย่างยั่งยืน
(ดร. สุดลพ รัตนเกื้อกังวาน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 4 การพัฒนาส่วนประกอบเชิงหน้าที่มูลค่าสูงชนิดน้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์จากกากรำข้าวที่เหลือจากการสกัดน้ำมันและโปรตีนและการศึกษาสมบัติพรีไบโอติก
(ผศ.ดร.วรรณพร คลังเพชร อุเอโนะ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
โครงการที่ 5 การพัฒนากาแฟข้าวสีนิลในรูปก้อนพร้อมชงเพื่อสุขภาพจากข้าวสีกล้องงอก
(รศ.ดร. ลือชัย  บุตคุป, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
โครงการที่ 6 การประยุกต์ใช้โปรตีนและไฮโดรไลเซทจากโปรตีนรำข้าวในผลิตภัณฑ์อาหาร
(ผศ.ดร. สุพีรยา อาษา, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
โครงการที่ 7 การพัฒนากระบวนการผลิตไซลิทอลด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพและการทำผลิตภัณฑ์ให้บริสุทธิ์เพื่อเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการผลิตข้าว
(ดร. เบญจรัตน์ บรรเทิงสุข, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ)
โครงการที่ 8 การพัฒนาประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายนิโคตินโดยการวิศวกรรมเอนไซม์นิโคตินดีไฮโดรจีเนส
(ผศ.ดร. ภานุ พิมพ์วิริยะกุล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
โครงการที่ 9 การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกลุ่มใหม่จากเพอร์รอพสไกด์ที่กราฟท์ด้วยตัวจับไฮโดรเจน เพื่อกระตุ้นพันธะ C(sp3)-H ที่มีเสถียรภาพสูงในสารประกอบไฮโดรคาร์บอนสำหรับการสังเคราะห์สารอินทรีย์ที่มีมูลค่า
(รศ.ดร. บูรภัทร์ อินทรีย์สังวร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
โครงการที่ 10 การพัฒนาวัสดุปิดแผลแบบสามชั้นชนิดมีรูพรุนสูงที่ผสมสารสกัดจากสมุนไพรไทยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาแผลเรื้อรัง
(ดร. ปิยฉัฏร ช่วยสีนวล, สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์)
โครงการที่ 11 การสังเคราะห์และการตกผลึกของสารกึ่งตัวนำเรื่องแสงชนิดไฮบริดอินทรีย์-อนินทรีย์สำหรับประโยชน์ทางอิเล็กทรอนิกส์และควอนตัม
(ดร. วัชรพล ปริตรมงคล, สถาบันวิทยสิริเมธี)
โครงการที่ 12 การประยุกต์ใช้สตริปเทสเคมีไฟฟ้าสำหรับการตรวจวัดเชื้อสเตรฟโตคอกคัสซูอิสในสุกรและเชื้อซัลโมเนลลาในไก่
(ดร. สุดเขต ไชโย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 13 การยกระดับการผลิต SilkLife จากห้องปฏิบัติการสู่ระดับอุตสาหกรรมทางการแพทย์
(รศ.ดร. จุฑามาศ รัตนวราภรณ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
โครงการที่ 14 การพัฒนานาโนฟิล์มโพลีเมอร์เลียนแบบชีวมิติด้วยกรรมวิธีการกดอัดขึ้นรูปด้วยความร้อนสำหรับยับยั้งการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
(ผศ.ดร. พจนศักดิ์ พจนา, มหาวิทยาลัยพะเยา)
โครงการที่ 15 การพัฒนาซอฟท์แวร์เพื่อควบคุมเครื่องตรวจการรับรู้ความรู้สึกปลายประสาท โดยใช้เส้นใยโมโนฟิลาเมนต์เพื่อการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผ่านระบบดิจิตอลโทรเวชตามข้อกำหนดการควบคุมมาตรฐาน
(ดร. นันทิดา นิลหุด, มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา))
โครงการที่ 16 การศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับอันตรายจากไฟไหม้ในกรณีแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนระเบิดและวิธีการยับยั้งด้วยการใช้สารดับเพลิง
(รศ.ดร. ยศพงษ์ ลออนวล, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
โครงการที่ 17 การพัฒนาต้นแบบเซรามิกเมมเบรนและเซรามิกอิเล็กโทรดสำหรับลดโซเดียมในอุตสาหกรรมอาหารเหลวด้วยเทคนิคทางไฟฟ้าเคมี: กรณีศึกษา บริษัท เอบีดี กาญจน์ จำกัด จ.กาญจนบุรี
(รศ.ดร. บุญธง วสุริย์, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม)
โครงการที่ 18 การพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่ยั่งยืนจากโซเดียมคาร์บอเนตสังเคราะห์จากกระบวนการทางจุลินทรีย์
(รศ.ดร. ณัฐชัย โปร่งมณี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร)
โครงการที่ 19 การออกแบบและการผลิตวัสดุที่มีรูพรุนจากไฮดรอกซีอะพาไทต์ที่มีฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์และสมบัติเชิงกลสูง
(ศ.ดร. กอบวุฒิ รุจิจนากุล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
โครงการที่ 20 สนามแรงที่ใช้การเรียนรู้ของเครื่องบนพื้นฐานทฤษฎีฟังก์ชันนัลของความหนาแน่น สำหรับการทำนายค่าการนำความร้อนในวัสดุสองมิติ
(รศ.ดร. อดิศักดิ์ บุญชื่น , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)